บทอาขยาน คือ บทท่องจำ
ซึ่งการท่องจำบทอาขยานะช่วยทำให้เห็นคุณค่าของภาษาไทย และได้ข้อคิดที่สามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ปัจจุบันไม่นิยมให้เด็กท่องจำเพราะคิดว่าเป็นการให้เด็กท่องจำอย่างนกแก้วนกขุนทอง
โดยไม่รู้ความหมายและเหตุผล แต่ในความเป็นจริง การอ่านออกเสียง
และอ่านท่องจำมีประโยชน์หลายประการ เช่น การอ่านออกเสียงดังๆ จะทำให้เด็กสามารถ
พูดและออกเสียงได้คล่องแคล่วชัดเจน การท่องจำเป็นการลับสมองอยู่เสมอ
ทำให้มีความจำดี การเลือกสิ่งที่ดีและมีประโยชน์ให้เด็กท่องจำ
จะเกิดประโยชน์กับเด็กมากกว่าการให้เด็กท่องจำข้อความไร้สาระจากบทโฆษณาต่างๆเพราะธรรมชาติของเด็ก
จะช่างจดจำอยู่แล้ว ถ้าให้ท่องจำในสิ่งที่เป็นความรู้ หรือเป็นประโยชน์
สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้โดยครูอธิบายความหมายให้เข้าใจเสียก่อนก็จะเป็นประโยชน์แก่เด็กเป็นอันมาก
บทท่องจำทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองนั้น
จะเป็นตัวอย่างให้เด็กนำไปใช้เพื่อการแต่งหนังสือต่อไป
เด็กที่ท่องบทร้อยกรองได้แล้ว ต่อไปจะสามารถแต่งบทร้อยกรองด้วยตัวเองได้
เพราะคุ้นเคยและชินกับคำคล้องจอง นอกจากนี้เด็กจะได้สำนวนภาษาที่ดีจากบทท่องจำต่างๆด้วอ่านเพิ่มเติม
วันพฤหัสบดีที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2559
มหาชาติ หรือ มหาเวสสันดรชาดก
เวสสันดรชาดกนี้เป็นเรื่องใหญ่จัดรวมไว้ในมหานิบาตชาดกรวมเรื่องใหญ่ ๑๐ เรื่องที่เรียกกันว่า ทศชาติ แต่อีก ๙ เรื่อง ไม่เรียกว่ามหาชาติ คงเรียกแต่เวสสันดรชาดกเรื่องเดียวว่า มหาชาติ ข้อนี้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพโปรดประทานอธิบายว่า พุทธศาสนิกชนชาวไทยตลอดจนประเทศใกล้เคียงนับถือกันมาแต่โบราณว่าเรื่องมหาเวสสันดรชาดก สำคัญกว่าชาดกอื่น
ๆ ด้วยปรากฏบารมีของพระโพอ่านเพิ่มเติม
มงคลสูตรคําฉันท์
มงคลสูตรคําฉันท์ เริ่มต้นกล่าวถึงมนุษย์และเทวดาได้พยายามค้นหาคำตอบว่า อะไรคือมงคล
เป็นเวลานานถึง ๑๒ ปี
พระอานนท์ได้เล่าให้ฟังว่าเมื่อครั้งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับ ณ
เชตะวันมหาวิหารซึ่งอนาถบิณฑิกเศรษฐีได้สร้างถวายไว้ ณ เมืองสาวัตถี
มีเทวดาองค์หนึ่งได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าในเวลาปฐมยามและได้ทูลถามเรื่องมงคล
พระพุทธองค์จึงตรัสตอบถึงสิ่งที่เป็นมงคล ๓๘ ประการ หลังจากรับฟังเทศนาจบ
เหล่าเทวดาก็บรรลุธรรม มงคล ๓๘ ประการ พระพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นคาถาภาษาบาลีเพียง
๑๐คาถา แต่ละคาถาประกอบด้วยมงคล ๓-๕ ข้อ และมีคาถาสรุปตอนท้าย
๑ บท ชี้ให้เห็นว่าเหล่าเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ถ้าปฏิบัติตามมงคลอันสูงสุด ๓๘
ประการนี้ได้ จะไม่พ่ายแพ้แก่ข้าศึกศัตรูและจะมีแต่ความเจริญรุ่งเรืองสือ่านเพิ่มเติม
ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
มีที่มาจากหนังสือรวบรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯให้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ
พ.ศ. 2533 ในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ โดย นิสิตคณะอักษรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประวัติผู้แต่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามราชกุมารี
ทรงประกอบพระราชกรณียกิจหลายประการ ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมร้อยแก้ว ร้อยกรอง
และงานแปล ในงานพระราชนิพนธ์แต่ละเรื่อง พระองค์จะใช้นามแฝงที่แตกต่างกันไป เช่น
ก้อนหิน แว่นแก้ว หนูน้อย เป็นต้นนอกจากนี้ยังทรงประกอบพระราชกรณียกิจในด้านการศึกษา การพัฒนาสังคม
โดยมีโครงการในพระราชดำริส่วนพระองค์หลายโครงการอ่านเพิ่มเติม
หัวใจชายหนุ่ม
ชายหนุ่มไทยที่ไปศึกษาที่ต่างประเทศและได้ประทับใจในวัฒนธรรมของต่างประเทศอีกทั้งยังเปรียบ
“รักไทยเหมือนพ่อแม่ รักเมืองอังกฤษเหมือนรักเมีย”เมื่อพบอุไรสาวไทยผู้ทันสมัยมีแนวคิดและมีค่านิยมแบบตะวันตกเต็มที่ประพันธ์จึงดูจะมีความสุขมากขึ้น
และทั้งสองได้มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด จนอุไรตั้งครรภ์จึงต้องแต่งงานกันโดยเร็ว
เวลาผ่านไปประพันธ์ได้รู้ว่าเข้าและอุไรไม่เหมาะสมกันและทั้งคู่ได้หย่ากัน
ทำให้ประพันธ์ได้คิดว่า “ผู้หญิงที่เหมาะสมกับเขานั้นไม่ใช่ผู้หญิงที่คร่ำครึอย่างแม่กิมเน้ย
หรือทันสมัยอย่างแม่อุไร
แต่ควรเป็นผู้หญิงที่มีลักษณะผสมผสานกันระหว่างความเป็นไทยกับความเป็นตะวันตก
นั้นก็คือ ศรีสมาน อุไร เป็นสาวทันสมัยใจตะวันตก
และทำให้ประพันธ์ถูกใจและชื่นชมมาก จึงได้คบหาสมาคมสนิทสนมจนได้แต่งงานกัน
หลังจากแต่งงานพฤติกรรมของอุไรก็ไม่ได้เปลี่ยนแปลง อุไรก็ยังไม่ได้ทำหน้าที่แม่บ้อ่านเพิ่มเติม
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์เป็นบทประพันธ์ประเภทนิราศคำโคลงที่โด่งดังที่สุดในยุครัตนโกสินทร์
ทัดเทียมได้กับ"กำสรวลศรีปราชญ์
"และ"ทวาทศมาส"ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผู้แต่งคือ
นายนรินทร์ธิเบศร์(อิน) แต่งขึ้นเมื่อคราวตามเสด็จ
กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ไปทัพพม่าในสมัยรัชกาลที่สอง
ไม่มีบันทึกถึงประวัติของผู้แต่งไว้ ทราบแต่ว่าเป็นข้าราชการ ตำแหน่ง
มหาดเล็กหุ้มแพรในกรมพระราชวังบวรฯ และมีผลงานที่ปรากฏนอกจากนิราศเรื่องนี้
เป็นเพลงยาวอีกบทหนึ่งเท่านั้น แต่แม้จะมีผลงานเพียงน้อยนิด
แต่ผลงานของกวีท่านนี้จัดว่าอยู่ในขั้นวรรณคดี และเป็นที่นิยมอ่านกันอย่างแพร่หลาย เนื้อหาของ นิราศนรินทร์ก็ดำเนินตามแบบฉบับนิราศทั่วไป คือ
มีการเดินทางและคร่ำครวญถึงการพลัดพรากจากนางอันเป็อ่านเพิ่มเติม
นิทานเวตาล (เรื่องที่ 10)
เวตาลกล่าวว่า
ครั้งนี้ข้าพเจ้าเขม่นตาซ้ายหัวใจเต้นแรง แลตาก็มืดมัวเหมือนลางไม่ดีเสียแล้ว แต่ข้าพเจ้าจะเล่าเรื่องจริงถวาย
แลเหตุที่ข้าพเจ้าเบื่อหน่ายที่ต้องถูกแบกหามไปหามมาในโบราณกาล
มีเมืองที่ใหญ่เมืองหนึ่งชื่อ กรุงธรรมปุระ พระราชาทรงพระนามว่า ท้าวมหาพล
มีพระมเหสีที่ทรงสิริโฉมงดงามแม้มีพระราชธิดาที่ทรงเจริญวัยแล้ว
ต่อมาได้เกิดศึกสงครามทหารของท้าวเอาใจออกห่าง ทำให้ทรงพ่ายแพ้
พระองค์จึงทรงพาพระมเหสีและพระราชธิดาหลบหนีออกจากเมืองเพื่อไปเมืองเดิมของพระมเหสี
ในระหว่างทางท้าวมหาพลได้ถูกโจรรุมทำร้ายเพื่อชิงทรัพย์และสิ่งของมีค่า
จนพระองค์สิ้นพระชนม์ จนพระราชธิดาและพระมเหสีเสด็จหนีเข้าไปในป่าลึกในเวลานั้นมีพระราชาทรงพระนามว่า
ท้าวจันทรเสน กับพระราชบุตร
ได้เสด็จมาประพาสป่าและพบรอยเท้าของสตรีซึ่งเมื่อพบสตรีทั้งสองจะให้รอยเท้าที่ใหญ่เป็นพระมเหสีของท้าวจันทรเสน
และรอยเท้าที่เล็กเป็นพระชายาของพระราชบุตร แต่เมื่อพบอ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)